demo fruit profile ver0.2
ภาพตัวอย่าง
ชื่อท้องถิ่น
มะปราง

ชื่อภาษาอังกฤษ | Marian plum (Ma-prang)
ชื่อวิทยาศาสตร์ | Bouea macrophylla


ฤดูกาลของผลไม้ (ช่วงเดือน) :มีนาคม

ข้อมูลลักษณะ

ผลมะปราง มีลักษณะรูปทรงไข่กลมรี โคนมนปลายรี เปลือกเกลี้ยงบางเป็นมัน มียางใสๆ ผลมีขนาดเล็กกว่ามะยงชิด ผลอ่อนมีสีเขียวอ่อน มีรสชาติมัน ผลสุกมีสีเหลืองนวล เนื้อสุกมีสีเหลือง หรือมีสีเหลืองอมส้ม ตามสายพันธุ์ มีเนื้อนุ่มฉ่ำน้ำ มีรสชาติหวานฉ่ำ หรือมีรสชาติหวานอมเปรี้ยว ตามสายพันธุ์ มีกลิ่นหอม มีเมล็ดแข็งทรงรี สีขาวนวล หรือสีม่วงอมชมพู อยู่ข้างในเนื้อ

ข้อมูลโภชนาการ

หนึ่งหน่วยบริโภค : 100 กรัม (g)

คุณค่าทางโภชนาการต่อหนึ่งหน่วยบริโภค

พลังงานทั้งหมด

48 kcal

ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน *

Protein 0.7 g

1.15%

Total Fat 0.3 g

0.38%

Carbohydrate 10.5 g

4.47%

Calcium

0.25%

Phosphorus

2.86%

Iron

28.7%

Vitamin B1

2.5%

Vitamin B2

6.92%

Niacin

5%

Vitamin C

55%

* ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน หมายถึง สารอาหารที่ได้รับจากการกินครั้งนี้ คิดเป็นสัดส่วนเท่าใดของที่เราควรจะได้รับต่อวัน เช่น ปริมาณคาร์โบไฮเดรตที่ควรได้รับต่อวัน คือ 300 กรัม จากตัวอย่าง คือ ผลไม้ 100 กรัม (g) ให้คาร์โบไฮเดรต 22 กรัม คิดเป็น 7% ของปริมาณที่ควรได้รับ ดังนั้นเราต้องกินเพิ่มอีก 93% จากอาหารอื่น

ภาพประกอบ

คลิกที่ภาพเพื่อดูภาพขนาดใหญ่

ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง

สารที่พบ


สารอาหารหลัก
Energy by calculation
Protein total
Fat total
Carbohydrate available
Ash
สารอาหารรอง
Calcium
Phosphorus
Iron
Thiamin
Riboflavin
Niacin
Vitamin C
สารพฤกษเคมี
Alkaloids
Anthraquinones
Flavonoids
Glycosides
Saponins
Phenols
Tannins
Sterols
Triterpenes

กราฟเปรียบเทียบปริมาณสารอาหารหลักที่พบ

สารอาหารหลัก (Macronutrients)
เลือกชนิดของสารได้สูงสุดจำนวน 5 ชนิด เพื่อแสดงปริมาณสารที่เลือกบนแผนภูมิเรดาร์

กราฟเปรียบเทียบปริมาณสารอาหารรองที่พบ

สารอาหารรอง (Micronutrients)
เลือกชนิดของสารได้สูงสุดจำนวน 5 ชนิด เพื่อแสดงปริมาณสารที่เลือกบนแผนภูมิเรดาร์

กราฟเปรียบเทียบปริมาณสารออกฤทธิ์ที่พบ

สารพฤกษเคมี (Phytochemicals)
เลือกชนิดของสารได้สูงสุดจำนวน 5 ชนิด เพื่อแสดงปริมาณสารที่เลือกบนแผนภูมิเรดาร์

แหล่งอ้างอิง
- Kumeshini Sukalingam. (2018). Preliminary phytochemical analysis and in vitro antioxidant properties of Malaysian ‘Kundang’ (Bouea macrophylla Griffith). Trends in Phytochemical Research (TPR), 2(4), 261-266. [Link]
- Kunchit Judprasong, Prapasri Puwastien, Nipa Rojroongwasinkul, Anadi Nitithamyong, Piyanut Sridonpai, Amnat Somjai. Institute of Nutrition, Mahidol University (2015). Thai Food Composition Database, Online version 2, September 2018, Thailand. [Link]
- คณะกรรมการและคณะทำงานปรับปรุงข้อกำหนดสารอาหารที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย. (2563). ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย พ.ศ. 2563 (พิมพ์ครั้งที่ 1). สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. [Link]