ชื่อภาษาอังกฤษ | Longkong
ชื่อวิทยาศาสตร์ | Lansium domesticum
ฤดูกาลของผลไม้ (ช่วงเดือน) :สิงหาคม, ตุลาคม
ผล มีลักษณะทรงกลม ออกเป็นพวงแน่น ผิวเปลือกหนาหยาบ ผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อผลสุกจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองนวล มียางน้อยกว่าลางสาด แกะเปลือกออกง่ายกว่าลางสาด ภายในผลจะมีเนื้อเป็นกลีบเล็กๆ เนื้อนุ่มฉ่ำน้ำ มีสีขาวใส มีรสชาติหวานฉ่ำ มีกลิ่นหอม มีเมล็ดอยู่ข้างในเนื้อ มีเมล็ดน้อยกว่าลางสาด
ข้อมูลโภชนาการ |
---|
หนึ่งหน่วยบริโภค : 100 กรัม (g) |
คุณค่าทางโภชนาการต่อหนึ่งหน่วยบริโภค พลังงานทั้งหมด 65 kcal |
ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน * |
Protein 0.9 g 1.48% |
Total Fat 0.1 g 0.13% |
Carbohydrate 13.79 g 5.87% |
Dietary Fiber 2.6 g 10.4% |
Sugars 15.57 g 23.95% |
|
Calcium 0.75% |
Phosphorus 2.71% |
Magnesium 3.14% |
Sodium 0.25% |
Potassium 5.35% |
Iron 1.39% |
Copper 6.88% |
Zinc 2.18% |
Beta-carotene 0.38% |
Vitamin A 0.14% |
Vitamin C 4% |
|
* ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน หมายถึง สารอาหารที่ได้รับจากการกินครั้งนี้ คิดเป็นสัดส่วนเท่าใดของที่เราควรจะได้รับต่อวัน เช่น ปริมาณคาร์โบไฮเดรตที่ควรได้รับต่อวัน คือ 300 กรัม จากตัวอย่าง คือ ผลไม้ 100 กรัม (g) ให้คาร์โบไฮเดรต 22 กรัม คิดเป็น 7% ของปริมาณที่ควรได้รับ ดังนั้นเราต้องกินเพิ่มอีก 93% จากอาหารอื่น |
คลิกที่ภาพเพื่อดูภาพขนาดใหญ่
แผนภูมิเรดาร์ (Radar chart) หรือ แผนภูมิใยแมงมุม (Spider chart) ใช้แสดงการเปรียบเทียบระดับปริมาณสารอย่างน้อย 1 ชนิด โดยแต่ละมุมจะแสดงสาร 1 ชนิด และสามารถนำมาใช้ในการเปรียบเทียบปริมาณสารชนิดเดียวกันในผลไม้หลายชนิดพร้อมกันได้ คู่มือ
การปรับบรรทัดฐาน (Normalization) ด้วยวิธี Rescaling หรือ Min-Max Normalization เพื่อปรับช่วงข้อมูลให้อยู่ในช่วง [0, 1] ด้วยการนำค่าข้อมูลนั้น ลบด้วยค่าที่น้อยที่สุด (Min) ของมัน แล้วหารด้วยช่วงของข้อมูลนั้น (Max – Min) คู่มือ
Energy by calculation |
Protein total |
Fat total |
Carbohydrate available |
Dietary fibre |
Ash |
Sugars total |
Calcium |
Phosphorus |
Magnesium |
Sodium |
Potassium |
Iron |
Copper |
Zinc |
Beta-carotene |
Vitamin A retinol activity equivalent |
Vitamin C |
Polyphenols |
Ferulic acid |
p-Coumaric acid |
Gallic acid |
Quercetin |
Flavonoids |
Alkaloids |
Tannins |
Terpenoids |
- Yamin, Y., Ruslin, R., Sabarudin, S., Sida, N. A., Kasmawati, H., & Diman, L. O. M. (2020). Determination of Antiradical Activity, Total Phenolic, and Total Flavonoid Contents of Extracts and Fractions of Langsat (Lansium domesticum Coor.) Seeds. Borneo Journal of Pharmacy, 3(4), 249–256. https://doi.org/10.33084/bjop.v3i4.1501 [Link]
- Venkatachalam, K. (2020). Bioactive Compounds of Longkong Fruit (Lansium domesticum Corr.). In: Murthy, H., Bapat, V. (eds) Bioactive Compounds in Underutilized Fruits and Nuts. Reference Series in Phytochemistry. Springer, Cham. https://doi.org/10.1007/978-3-030-30182-8_17 [Link]
- Kunchit Judprasong, Prapasri Puwastien, Nipa Rojroongwasinkul, Anadi Nitithamyong, Piyanut Sridonpai, Amnat Somjai. Institute of Nutrition, Mahidol University (2015). Thai Food Composition Database, Online version 2, September 2018, Thailand. [Link]
- คณะกรรมการและคณะทำงานปรับปรุงข้อกำหนดสารอาหารที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย. (2563). ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย พ.ศ. 2563 (พิมพ์ครั้งที่ 1). สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. [Link]