demo fruit profile ver0.2
ภาพตัวอย่าง
ชื่อท้องถิ่น
ละมุดสีดา

ชื่อภาษาอังกฤษ | Sapodilla / Mimusops, see-da variety
ชื่อวิทยาศาสตร์ | Manilkara zapota


ฤดูกาลของผลไม้ (ช่วงเดือน) :พฤศจิกายน, ธันวาคม

ข้อมูลลักษณะ

ผลเป็นทรงวงรีคล้ายไข่ไก่ หากเทียบกับละมุดทั่วไปก็มีผลเล็กกว่าอย่างเห็นได้ชัด ผิวนอกเรียบเกลี้ยง เมื่อเป็นผลอ่อนจะมีสีเขียว แต่เมื่อสุกจะเป็นสีแดงแสดหรือสีแดงคล้ำ เนื้อในมีสีเหลืองอมส้มและมีกลิ่นแรงมาก

ข้อมูลโภชนาการ

หนึ่งหน่วยบริโภค : 100 กรัม (g)

คุณค่าทางโภชนาการต่อหนึ่งหน่วยบริโภค

พลังงานทั้งหมด

127 kcal

ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน *

Protein 1 g

1.64%

Total Fat 1 g

1.28%

Carbohydrate 28.6 g

12.17%

Calcium

5.5%

Phosphorus

2%

Iron

5.22%

Vitamin B1

0.83%

Vitamin B2

21.54%

* ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน หมายถึง สารอาหารที่ได้รับจากการกินครั้งนี้ คิดเป็นสัดส่วนเท่าใดของที่เราควรจะได้รับต่อวัน เช่น ปริมาณคาร์โบไฮเดรตที่ควรได้รับต่อวัน คือ 300 กรัม จากตัวอย่าง คือ ผลไม้ 100 กรัม (g) ให้คาร์โบไฮเดรต 22 กรัม คิดเป็น 7% ของปริมาณที่ควรได้รับ ดังนั้นเราต้องกินเพิ่มอีก 93% จากอาหารอื่น

ภาพประกอบ

ไม่พบภาพเพิ่มเติม

ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง

สารที่พบ


สารอาหารหลัก
Energy by calculation
Protein total
Fat total
Carbohydrate available
Ash
สารอาหารรอง
Calcium
Phosphorus
Iron
Thiamin
Riboflavin
สารพฤกษเคมี
methyl chlorogenate
dihydromyricetin
quercitrin
myricitrin
Catechin
Gallic acid

กราฟเปรียบเทียบปริมาณสารอาหารหลักที่พบ

สารอาหารหลัก (Macronutrients)
เลือกชนิดของสารได้สูงสุดจำนวน 5 ชนิด เพื่อแสดงปริมาณสารที่เลือกบนแผนภูมิเรดาร์

กราฟเปรียบเทียบปริมาณสารอาหารรองที่พบ

สารอาหารรอง (Micronutrients)
เลือกชนิดของสารได้สูงสุดจำนวน 5 ชนิด เพื่อแสดงปริมาณสารที่เลือกบนแผนภูมิเรดาร์

กราฟเปรียบเทียบปริมาณสารออกฤทธิ์ที่พบ

สารพฤกษเคมี (Phytochemicals)
เลือกชนิดของสารได้สูงสุดจำนวน 5 ชนิด เพื่อแสดงปริมาณสารที่เลือกบนแผนภูมิเรดาร์

แหล่งอ้างอิง
- Yong, Ka Yee & Mohamed Saleem Abdul Shukkoor. (2020). Manilkara Zapota: A phytochemical and pharmacological review. Materials Today: Proceedings, 29(1), 30-33. https://doi.org/10.1016/j.matpr.2020.05.688. [Link]
- Kunchit Judprasong, Prapasri Puwastien, Nipa Rojroongwasinkul, Anadi Nitithamyong, Piyanut Sridonpai, Amnat Somjai. Institute of Nutrition, Mahidol University (2015). Thai Food Composition Database, Online version 2, September 2018, Thailand. [Link]
- คณะกรรมการและคณะทำงานปรับปรุงข้อกำหนดสารอาหารที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย. (2563). ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย พ.ศ. 2563 (พิมพ์ครั้งที่ 1). สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. [Link]