demo fruit profile ver0.2
ภาพตัวอย่าง
ชื่อท้องถิ่น
ลูกหว้า

ชื่อภาษาอังกฤษ | Jambolan / Java plum
ชื่อวิทยาศาสตร์ | Syzygium cumini


ฤดูกาลของผลไม้ (ช่วงเดือน) :เมษายน, พฤษภาคม

ข้อมูลลักษณะ

ผล เป็นผลเดี่ยว อยู่เป็นพวง มีลักษณะทรงกลมรีเล็กๆ ผิวเปลือกเรียบ ผลอ่อนสีเขียว ผลสุกจะมีสีแดง สีม่วงอมแดง และสีออกดำ ตามลำดับ มีเนื้อสีม่วงอมแดง เนื้อนุ่มฉ่ำน้ำ มีรสชาติเปรี้ยวอมหวาน มีกลิ่นหอม มีเมล็ดแข็งทรงกลมรีเล็กๆ อยู่ข้างในเนื้อ

ข้อมูลโภชนาการ

หนึ่งหน่วยบริโภค : 100 กรัม (g)

คุณค่าทางโภชนาการต่อหนึ่งหน่วยบริโภค

พลังงานทั้งหมด

52 kcal

ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน *

Protein 0.9 g

1.48%

Total Fat 0.1 g

0.13%

Carbohydrate 10.15 g

4.32%

Dietary Fiber 3.3 g

13.2%

Sugars 5 g

7.69%

Calcium

2.88%

Phosphorus

4.57%

Magnesium

56.57%

Sodium

16.58%

Potassium

0.82%

Iron

11.57%

Zinc

1.36%

Beta-carotene

1.72%

Vitamin A

0.57%

Niacin

11.88%

Vitamin C

34%

* ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน หมายถึง สารอาหารที่ได้รับจากการกินครั้งนี้ คิดเป็นสัดส่วนเท่าใดของที่เราควรจะได้รับต่อวัน เช่น ปริมาณคาร์โบไฮเดรตที่ควรได้รับต่อวัน คือ 300 กรัม จากตัวอย่าง คือ ผลไม้ 100 กรัม (g) ให้คาร์โบไฮเดรต 22 กรัม คิดเป็น 7% ของปริมาณที่ควรได้รับ ดังนั้นเราต้องกินเพิ่มอีก 93% จากอาหารอื่น

ภาพประกอบ

ไม่พบภาพเพิ่มเติม

ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง

น้ำลูกหว้าชนิดเข้มข้น

อ่านเพิ่มเติม

สารที่พบ


สารอาหารหลัก
Energy by calculation
Protein total
Fat total
Carbohydrate available
Dietary fibre
Ash
Sugars total
สารอาหารรอง
Calcium
Phosphorus
Magnesium
Sodium
Potassium
Iron
Zinc
Beta-carotene
Vitamin A retinol activity equivalent
Niacin
Vitamin C
สารพฤกษเคมี
anthocyanins
malvidin
peonidin
petunidin
delphinidin
Phenolics
anthocyanins
Tannins
Flavanols
Flavonoids

กราฟเปรียบเทียบปริมาณสารอาหารหลักที่พบ

สารอาหารหลัก (Macronutrients)
เลือกชนิดของสารได้สูงสุดจำนวน 5 ชนิด เพื่อแสดงปริมาณสารที่เลือกบนแผนภูมิเรดาร์

กราฟเปรียบเทียบปริมาณสารอาหารรองที่พบ

สารอาหารรอง (Micronutrients)
เลือกชนิดของสารได้สูงสุดจำนวน 5 ชนิด เพื่อแสดงปริมาณสารที่เลือกบนแผนภูมิเรดาร์

กราฟเปรียบเทียบปริมาณสารออกฤทธิ์ที่พบ

สารพฤกษเคมี (Phytochemicals)
เลือกชนิดของสารได้สูงสุดจำนวน 5 ชนิด เพื่อแสดงปริมาณสารที่เลือกบนแผนภูมิเรดาร์

แหล่งอ้างอิง
- V. Jhansi Lakshmi, Katuri Manasa & Santhosh Kumar Ranajit. (2021). Various Phytochemical Constituents and Their Potential Pharmacological Activities of Plants of the Genus Syzygium. American Journal of PharmTech Research, 11(2), 68-85. http://dx.doi.org/10.46624/ajptr.2021.v11.i2.006 [Link]
- Kunchit Judprasong, Prapasri Puwastien, Nipa Rojroongwasinkul, Anadi Nitithamyong, Piyanut Sridonpai, Amnat Somjai. Institute of Nutrition, Mahidol University (2015). Thai Food Composition Database, Online version 2, September 2018, Thailand. [Link]
- คณะกรรมการและคณะทำงานปรับปรุงข้อกำหนดสารอาหารที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย. (2563). ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย พ.ศ. 2563 (พิมพ์ครั้งที่ 1). สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. [Link]