demo fruit profile ver0.2
ภาพตัวอย่าง
ชื่อท้องถิ่น
มะละกอพันธุ์ฮอลแลนด์

ชื่อภาษาอังกฤษ | Papaya, Hollands variety
ชื่อวิทยาศาสตร์ | Carica papaya


ฤดูกาลของผลไม้ (ช่วงเดือน) :มิถุนายน, พฤศจิกายน, ธันวาคม

ข้อมูลลักษณะ

ผล เป็นผลเดี่ยว มีลักษณะทรงกรวย ไม่ยาวมาก มีเปลือกหนาผิวเรียบ ผลดิบมีสีเขียว มีน้ำยางสีขาวอยู่ที่เปลือก ผลสุกมีสีเหลืองเข้ม เนื้อหนานุ่มฉ่ำน้ำ เนื้อมีสีเหลืองอมส้ม มีรสชาติหวานอร่อย มีกลิ่นหอม

ข้อมูลโภชนาการ

หนึ่งหน่วยบริโภค : 100 กรัม (g)

คุณค่าทางโภชนาการต่อหนึ่งหน่วยบริโภค

พลังงานทั้งหมด

45 kcal

ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน *

Protein 0.83 g

1.36%

Total Fat 0.13 g

0.17%

Carbohydrate 9.14 g

3.89%

Dietary Fiber 1.7 g

6.8%

Sugars 9.13 g

14.05%

Calcium

1.5%

Magnesium

2.29%

Sodium

2.25%

Potassium

4.94%

Iron

2%

Copper

1.88%

Zinc

0.36%

Vitamin B1

1.67%

Vitamin B2

2.31%

Niacin

2.44%

Vitamin C

50%

* ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน หมายถึง สารอาหารที่ได้รับจากการกินครั้งนี้ คิดเป็นสัดส่วนเท่าใดของที่เราควรจะได้รับต่อวัน เช่น ปริมาณคาร์โบไฮเดรตที่ควรได้รับต่อวัน คือ 300 กรัม จากตัวอย่าง คือ ผลไม้ 100 กรัม (g) ให้คาร์โบไฮเดรต 22 กรัม คิดเป็น 7% ของปริมาณที่ควรได้รับ ดังนั้นเราต้องกินเพิ่มอีก 93% จากอาหารอื่น

ภาพประกอบ

คลิกที่ภาพเพื่อดูภาพขนาดใหญ่

ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง

มะละกอเชื่อม

การเชื่อม เป็นการเพิ่มน้ำตาลในอาหารให้สูงขึ้นโดยใช้ความร้อนทำให้อาหารสุก และน้ำตาลซึมผ่านเข้าไปในเนื้ออาหาร อาหารจะไม่เหี่ยวย่น และเก็บไว้ได้นาน น้ำตาลเป็นสารถนอมที่ช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์

อ่านเพิ่มเติม
ไอศกรีมเชอร์เบทมะละกอ

อ่านเพิ่มเติม

สารที่พบ


สารอาหารหลัก
Energy by calculation
Protein total
Fat total
Carbohydrate available
Dietary fibre
Ash
Sugars total
สารอาหารรอง
Calcium
Magnesium
Sodium
Potassium
Iron
Copper
Zinc
Thiamin
Riboflavin
Niacin
Vitamin C
สารพฤกษเคมี
Alkaloids
Flavonoids
Tannins
Cardiac glycosides
Anthraquinones(Free)
Anthraquinones (Bound)
Phlobatinins
Saponins
Anthocyanosides

กราฟเปรียบเทียบปริมาณสารอาหารหลักที่พบ

สารอาหารหลัก (Macronutrients)
เลือกชนิดของสารได้สูงสุดจำนวน 5 ชนิด เพื่อแสดงปริมาณสารที่เลือกบนแผนภูมิเรดาร์

กราฟเปรียบเทียบปริมาณสารอาหารรองที่พบ

สารอาหารรอง (Micronutrients)
เลือกชนิดของสารได้สูงสุดจำนวน 5 ชนิด เพื่อแสดงปริมาณสารที่เลือกบนแผนภูมิเรดาร์

กราฟเปรียบเทียบปริมาณสารออกฤทธิ์ที่พบ

สารพฤกษเคมี (Phytochemicals)
เลือกชนิดของสารได้สูงสุดจำนวน 5 ชนิด เพื่อแสดงปริมาณสารที่เลือกบนแผนภูมิเรดาร์

แหล่งอ้างอิง
- Ngozi, A. I., George, O. G., Veronica, I. O., Sunday, A., Tomi, D. E., Bola, O., ... & Felix, C. E. (2010). Phytochemical and antioxidant nutrient constituents of Carica papaya and Parquetina nigrescens extracts. Scientific research and essays, 5(16), 2201-2205. [Link]
- Kunchit Judprasong, Prapasri Puwastien, Nipa Rojroongwasinkul, Anadi Nitithamyong, Piyanut Sridonpai, Amnat Somjai. Institute of Nutrition, Mahidol University (2015). Thai Food Composition Database, Online version 2, September 2018, Thailand. [Link]
- คณะกรรมการและคณะทำงานปรับปรุงข้อกำหนดสารอาหารที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย. (2563). ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย พ.ศ. 2563 (พิมพ์ครั้งที่ 1). สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. [Link]