demo fruit profile ver0.2
ภาพตัวอย่าง
ชื่อท้องถิ่น
สละพันธุ์สุมาลี

ชื่อภาษาอังกฤษ | Salacca, Sumalee variety
ชื่อวิทยาศาสตร์ | Salacca edulis Reinw


ฤดูกาลของผลไม้ (ช่วงเดือน) :พฤษภาคม

ข้อมูลลักษณะ

ผลมีรูปร่างป้อมสั้น สีเนื้อคล้ายสะละเนินวง เนื้อหนากว่าระกําแต่บางกว่า พันธุ์เนินวง รสชาติหวาน มีกลิ่นเฉพาะ

ข้อมูลโภชนาการ

หนึ่งหน่วยบริโภค : 100 กรัม (g)

คุณค่าทางโภชนาการต่อหนึ่งหน่วยบริโภค

พลังงานทั้งหมด

67 kcal

ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน *

Protein 0.6 g

0.98%

Total Fat 0 g

0%

Carbohydrate 15.49 g

6.59%

Dietary Fiber 1.4 g

5.6%

Sugars 13.04 g

20.06%

Calcium

0.88%

Magnesium

2.57%

Sodium

1.17%

Potassium

4.94%

Iron

2.96%

Copper

5%

Zinc

3.45%

Vitamin B1

0.83%

Vitamin B2

0.77%

Niacin

4.13%

Vitamin C

3%

* ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน หมายถึง สารอาหารที่ได้รับจากการกินครั้งนี้ คิดเป็นสัดส่วนเท่าใดของที่เราควรจะได้รับต่อวัน เช่น ปริมาณคาร์โบไฮเดรตที่ควรได้รับต่อวัน คือ 300 กรัม จากตัวอย่าง คือ ผลไม้ 100 กรัม (g) ให้คาร์โบไฮเดรต 22 กรัม คิดเป็น 7% ของปริมาณที่ควรได้รับ ดังนั้นเราต้องกินเพิ่มอีก 93% จากอาหารอื่น

ภาพประกอบ

คลิกที่ภาพเพื่อดูภาพขนาดใหญ่

ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง

แยมสละ

การนำผลไม้มาทำแยม เป็นวิธีที่ดีอีกวิธีหนึ่งในการถนอมอาหารและเพิ่มค่าให้กับผลิตผลทางการเกษตร ขั้นตอนในการทำแยมผลไม้ไม่ยุ่งยาก ลักษณะของแยมสละมีลักษณะข้นเหนียวพอเหมาะ กลิ่นหอมสละ รสชาติหวานอมเปรี้ยวตามรสชาติของสละ และแยมที่ผลิตเสร็จแล้วจะถูกบรรจุในขวดแก้ว โดยขวดแก้วที่ใช้จะล้างให้สะอาดและผ่านการนึ่งฆ่าเชื้อประมาณ 15 นาที ผึ่งให้แห้ง ก่อนการบรรจุจะลดอุณหภูมิของผลิตภัณฑ์เป็น 85-90 องศาเซลเซียส เพื่อยืดอายุการเก็บรักษา เมื่อบรรจุแยมแล้วจะปิดฝาให้สนิท คว่ำขวดที่บรรจุด้านฝาลง เพื่อฆ่าเชื้อที่ฝาด้วยประมาณ 1 นาที แล้วตั้งขวดไว้แบบเดิม พอเย็น ล้างขวดให้สะอาดและเก็บรักษาไว้ได้นาน อย่างน้อย 6 เดือน แยมที่เปิดใช้แล้วควรเก็บไว้ในที่เย็น

อ่านเพิ่มเติม
สละลอยแก้ว

สละลอยแก้ว เป็นผลิตภัณฑ์ของผลสละด้วยแปรรูปสละสดให้อยู่ในรูปของสละในน้้าเชื่อมหรือที่เรียกว่า สละลอยแก้ว ถือเป็นทางเลือกหนึ่งในการเก็บรักษา และเพิ่มมูลค่าให้กับสละในช่วงที่มีผลผลิตออกสู่ตลาดมาก

อ่านเพิ่มเติม
วุ้นสละพร้อมดื่ม

อ่านเพิ่มเติม

สารที่พบ


สารอาหารหลัก
Energy by calculation
Protein total
Fat total
Carbohydrate available
Dietary fibre
Ash
Sugars total
สารอาหารรอง
Calcium
Magnesium
Sodium
Potassium
Iron
Copper
Zinc
Thiamin
Riboflavin
Niacin
Vitamin C
สารพฤกษเคมี
Flavonol
Flavonoids
Tannins
Polyphenols
Alkaloids
anthocyanins
Terpenoids
Quinones
Stigmasterol

กราฟเปรียบเทียบปริมาณสารอาหารหลักที่พบ

สารอาหารหลัก (Macronutrients)
เลือกชนิดของสารได้สูงสุดจำนวน 5 ชนิด เพื่อแสดงปริมาณสารที่เลือกบนแผนภูมิเรดาร์

กราฟเปรียบเทียบปริมาณสารอาหารรองที่พบ

สารอาหารรอง (Micronutrients)
เลือกชนิดของสารได้สูงสุดจำนวน 5 ชนิด เพื่อแสดงปริมาณสารที่เลือกบนแผนภูมิเรดาร์

กราฟเปรียบเทียบปริมาณสารออกฤทธิ์ที่พบ

สารพฤกษเคมี (Phytochemicals)
เลือกชนิดของสารได้สูงสุดจำนวน 5 ชนิด เพื่อแสดงปริมาณสารที่เลือกบนแผนภูมิเรดาร์

แหล่งอ้างอิง
- Triastarani, Ardhia Pramestika (2021) Pengaruh paparan sinar ultraviolet (UV) untuk memperkecil kerusakan dan aktivitas antioksidan pada buah salak(Salacca edulis reinw). Universitas Islam Negeri Maulana Malik Ibrahim. [Link]
- Ridho A, Wathoni N, Subarnas A, Levita J. (2019). Insights of phytoconstituents and pharmacology activities of Salacca plants. J Appl Pharm Sci, 9(10), 120–124. http://dx.doi.org/10.7324/JAPS.2019.91017 [Link]
- Kunchit Judprasong, Prapasri Puwastien, Nipa Rojroongwasinkul, Anadi Nitithamyong, Piyanut Sridonpai, Amnat Somjai. Institute of Nutrition, Mahidol University (2015). Thai Food Composition Database, Online version 2, September 2018, Thailand. [Link]
- คณะกรรมการและคณะทำงานปรับปรุงข้อกำหนดสารอาหารที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย. (2563). ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย พ.ศ. 2563 (พิมพ์ครั้งที่ 1). สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. [Link]