demo fruit profile ver0.2
ภาพตัวอย่าง
ชื่อท้องถิ่น
ทุเรียนพันธุ์กระดุม

ชื่อภาษาอังกฤษ | Durian, Kra-dum variety
ชื่อวิทยาศาสตร์ | Durio zibethinus


ฤดูกาลของผลไม้ (ช่วงเดือน) :เมษายน, พฤษภาคม, มิถุนายน

ข้อมูลลักษณะ

ผล ทรงกลม ขนาดเล็ก ร่องพูลึกคล้ายผลฟักงทอง เปลือกค่อนข้างบาง หนามเล็ก ถี่และสั้น เนื้อบาง สีเหลืองเข้ม รสจัด

ข้อมูลโภชนาการ

หนึ่งหน่วยบริโภค : 100 กรัม (g)

คุณค่าทางโภชนาการต่อหนึ่งหน่วยบริโภค

พลังงานทั้งหมด

177.5 kcal

ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน *

Protein 3.335 g

5.47%

Total Fat 4.62 g

5.92%

Carbohydrate 28.41 g

12.09%

Dietary Fiber 2.705 g

10.82%

Sugars 19.985 g

30.75%

Saturated Fat 1.7514 g

7.96%

Calcium

0.48%

Phosphorus

4.98%

Magnesium

6.62%

Sodium

1.65%

Potassium

12.95%

Iron

4.91%

Copper

14.38%

Zinc

3.36%

Beta-carotene

9.31%

Vitamin A

3.29%

Vitamin B1

43.33%

Vitamin B2

23.08%

Niacin

6.25%

Vitamin C

32%

Manganese

0%

* ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน หมายถึง สารอาหารที่ได้รับจากการกินครั้งนี้ คิดเป็นสัดส่วนเท่าใดของที่เราควรจะได้รับต่อวัน เช่น ปริมาณคาร์โบไฮเดรตที่ควรได้รับต่อวัน คือ 300 กรัม จากตัวอย่าง คือ ผลไม้ 100 กรัม (g) ให้คาร์โบไฮเดรต 22 กรัม คิดเป็น 7% ของปริมาณที่ควรได้รับ ดังนั้นเราต้องกินเพิ่มอีก 93% จากอาหารอื่น

ภาพประกอบ

คลิกที่ภาพเพื่อดูภาพขนาดใหญ่

ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง

ข้าวเกรียบทุเรียนผสมฟักทอง

อ่านเพิ่มเติม
ทุเรียนทอดเฟรนช์ฟราย

อ่านเพิ่มเติม
ทุเรียนดิบบดแห้ง (ทุเรียนผง)

เป็นผลิตภัณฑ์ที่เตรียมมาจากทุเรียนดิบแก่จัดพันธุ์หมอนทอง ซึ่งตัดจากต้นไม่นานเกิน 48 ชั่วโมง หรือ 2 วัน นําเนื้อทุเรียนมาหั่นเป็นแผ่นบางประมาณ 1 มิลลิเมตร แล้วอบให้แห้งจากนั้นนํามาบดผ่านตะแกรงที่มีรูเปิดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 มิลลิเมตร มีความชื้นประมาณ 6-8% มีสีขาวนวล มีความละเอียดสามารถผ่านตะแกรงที่มีขนาด 60 เมช ของน้ำหนักเนื้อทุเรียน

อ่านเพิ่มเติม
บะหมี่ทุเรียนผง

เป็นการนําผงทุเรียนมาดัดแปลงผสมกับแป้งสาลีทําเป็นเส้นบะหมี่ทุเรียนผง เพื่อให้เกิด ความแปลกใหม่ในรสชาตของเส้นบะหมี่ และช่วยเป็นทางเลือกใหม่ในการประกอบอาหาร

อ่านเพิ่มเติม
คุกกี้ทุเรียน

คุกกี้ เป็นขนมอบซึ่งเป็นการถนอมอาหารอีกวีธิหนึ่ง เหมาะรับประทานเป็น อาหารวางหรือของกำนัลในเทศกาลต่างๆ คุกกี้มีหลายประเภทมากมายทั้งรูปทรง รสชาติและวิธีการทำ พร้อมทั้งมีการคิดดัดแปลง โดยใชเนื้อผลไม้เป็นส่วนประกอบ เพิ่มความอร่อย และ เพิ่มมูลค่าให้ คุกกี้อีกด้วย

อ่านเพิ่มเติม
ทุเรียนทอดกรอบ

ทุเรียนทอดกรอบเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้มาจากเนื้อทุเรียนดิบและแก่จัด หั่นเป็นแผ่นบางๆ ผ่านการทอดในน้ำมันที่ร้อนและอาจนำไปอบให้แห้ง จนมีสีเหลืองสม่ำเสมอและกรอบ มีทั้งชนิดไม่เติมเกลือ และเติมเกลือ

อ่านเพิ่มเติม
ข้าวเกรียบทุเรียน

ข้าวเกรียบทุเรียน เป็นผลิตภัณฑ์ประเภทขบเคี้ยว กับแกล้ม หรือรับประทานเป็นของว่าง ลักษณะของข้าวเกรียบจะมีแป้งเป็นส่วนผสม ช่วยให้มี ลักษณะการพองตัวที่ดี มีการเติมเนื้อทุเรียนสุกเป็นส่วนประกอบ จะช่วยเพิ่มความอร่อย สีกลิ่น และ รส ตามธรรมชาติของเนื้อทุเรียนนั่นเอง

อ่านเพิ่มเติม
ทองม้วนทุเรียน

ทองม้วนทุเรียน หรือทองพับเป็นผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยว หรืออรับประทานเป็นของว่าง มีส่วนผสมหลัก ประกอบด้วยแป้ง น้ำตาล ไขมัน ไข่และเครื่องปรุง แต่งกลิ่นรส (ทุเรียน) โดยผสมส่วนทั้งหมดให้เข้ากัน นํามาทําเป็นแผ่นด้วยพิมพ์และปิ้งไฟจนสุกทั่วกันดี นําออกจากพิมพ์ทําการพับเรียกทองพับ หรือม้วนเรียกทองม้วน

อ่านเพิ่มเติม
ทุเรียนกวน

ทุเรียนกวน เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเนื้อทุเรียนสุกกวน อาจใช้เนื้อทุเรียนพันธุ์เดียวล้วนๆ หรือพันธุ์ผสมอาจมีการเติมน้ำตาลทราย หรือไม่เติมก็ได้ และนำมาทำการเคี่ยวหรือคนจนมัลักษณะข้นเหนียวแห้งไม่ติดมือ

อ่านเพิ่มเติม
ท๊อฟฟี่ทุเรียน

ท๊อฟฟี่ทุเรียน เป็นการถนอมอาหารอีกวิธีหนึ่ง ทําให้ผลิตภัณฑ์มีลักษณะข้นเหนียว มีกลิ่นหอม แล้วตัดหรือปั้นเป็นก้อน ๆ และรองด้วยพลาสติกแล้วห่อด้วยกระดาษแก้ว เหมาะสําหรับรับประทานเป็นขนม

อ่านเพิ่มเติม
ทุเรียนเชื่อม

ทุเรียนเชื่อม เป็นการถนอมอาหาร โดยการใช้น้ำตาลที่มีความเข้มข้นสูงเข้าแทนที่น้ำ โดยค่อยๆให้เซลล์ผลไม้ซึมน้ำตาลทีละน้อยจน เนื้อทุเรียนมีลักษณะใส ผิวภายนอกตึงผิวภายใน เนื้อทุเรียนมีความฉ่ำของน้ำตาล มีรสชาติหวานมัน ของเนื้อทุเรียน

อ่านเพิ่มเติม
ขนมอบกรอบแท่งรสทุเรียน

ขนมอบกรอบแท่งรสทุเรียน เป็นขนมอบกรอบ ชนิดแท่ง เหมาะสําหรับรับประทานเป็นอาหารว่าง หรือ ของกํานัลในเทศกาลต่างๆ พร้อมทั้งมีการดัดแปลงโดยใช้ เนื้อผลไม้เป็นส่วนประกอบ เพิ่มความอร่อยและเพิ่มมูลค่า ของผลิตภัณฑ์

อ่านเพิ่มเติม
ไอศกรีมทุเรียน

ไอศกรีม เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของไขมัน และส่วนประกอบอื่นๆ ผสมเข้าด้วยกัน และนํามาตีปั่นจนได้ลักษณะ เนื้อละเอียดเนียนนุ่ม มีรสสัมผัสละลายในปากทันที มีการเติมเนื้อผลไม้ เพื่อเพิ่มรสชาติ สี และกลิ่น ตามธรรมชาติของผลไม้นั่นเอง

อ่านเพิ่มเติม
คัสตาร์ดทุเรียน

อ่านเพิ่มเติม

สารที่พบ


สารอาหารหลัก
Energy by calculation
Protein total
Fat total
Carbohydrate available
Dietary fibre
Ash
Sugars total
Fructose
Glucose
Sucrose
Maltose
Dietary Fibre Soluble
Dietary Fibre Insoluble
Fatty Acid Capric
Fatty Acid Lauric
Fatty Acid Myristic
Fatty Acid Palmitic
Fatty Acid Palmitoleic
Fatty Acid Stearic
Fatty Acid Oleic
Fatty Acid Linoleic
Fatty Acid γ-Linolenic
Fatty Acid arachidic
Fatty acids total saturated
Fatty acids total monounsaturated
Fatty acids total polyunsaturated
สารอาหารรอง
Calcium
Phosphorus
Magnesium
Sodium
Potassium
Iron
Copper
Zinc
Beta-carotene
Vitamin A retinol activity equivalent
Thiamin
Riboflavin
Niacin
Vitamin C
Manganese
สารพฤกษเคมี
Kaemferol
Myricetin
Quercitin
Isorhamnitin
Apigenin
Luteolin
Hesperetin
Flavonoids
Polyphenols
Hesperetin
Lutein
Lycopene
Myricetin
Rutin
anthocyanins
Flavanols
Zeaxanthin
α-Carotene
β-Carotene
β-Cryptoxanthin

กราฟเปรียบเทียบปริมาณสารอาหารหลักที่พบ

สารอาหารหลัก (Macronutrients)
เลือกชนิดของสารได้สูงสุดจำนวน 5 ชนิด เพื่อแสดงปริมาณสารที่เลือกบนแผนภูมิเรดาร์

กราฟเปรียบเทียบปริมาณสารอาหารรองที่พบ

สารอาหารรอง (Micronutrients)
เลือกชนิดของสารได้สูงสุดจำนวน 5 ชนิด เพื่อแสดงปริมาณสารที่เลือกบนแผนภูมิเรดาร์

กราฟเปรียบเทียบปริมาณสารออกฤทธิ์ที่พบ

สารพฤกษเคมี (Phytochemicals)
เลือกชนิดของสารได้สูงสุดจำนวน 5 ชนิด เพื่อแสดงปริมาณสารที่เลือกบนแผนภูมิเรดาร์

แหล่งอ้างอิง
- Kongkachuichai, R., Charoensiri, R. I. N., & Sungpuag, P. (2010). Carotenoid, flavonoid profiles and dietary fiber contents of fruits commonly consumed in Thailand. International Journal of Food Sciences and Nutrition, 61(5), 536-548. [Link]
- A Aziz NA, Mhd Jalil AM. (2019). Bioactive Compounds, Nutritional Value, and Potential Health Benefits of Indigenous Durian (Durio Zibethinus Murr.): A Review. Foods, 8(3), 96. doi: 10.3390/foods8030096. [Link]
- Kunchit Judprasong, Prapasri Puwastien, Nipa Rojroongwasinkul, Anadi Nitithamyong, Piyanut Sridonpai, Amnat Somjai. Institute of Nutrition, Mahidol University (2015). Thai Food Composition Database, Online version 2, September 2018, Thailand. [Link]
- คณะกรรมการและคณะทำงานปรับปรุงข้อกำหนดสารอาหารที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย. (2563). ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย พ.ศ. 2563 (พิมพ์ครั้งที่ 1). สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. [Link]