ชื่อภาษาอังกฤษ | Banana, Nom-sao variety
ชื่อวิทยาศาสตร์ | Musa sp.
ฤดูกาลของผลไม้ (ช่วงเดือน) :ไม่พบข้อมูล
ผล ใน 1 เครือจะมี 6 – 7 หวี ๆ ละ 12 – 14 ผล ส่วนที่อำเภอสวนผึ้งพบว่า 1 เครือ จะมีถึง 16 หวี ผลมีลักษณะอ้วนป้อม ปลายผลงอน วัดส่วนกว้างที่สุด จะได้ประมาณ 4.0 – 4.2 เซนติเมตร ยาว 10.0 – 10.5 เซนติเมตร ผลดิบสีเขียวสดเป็นมัน เปลือกหนาผลสีเหลืองจัดเนื้อสีครีมอมส้มค่อนข้างแข็ง รสหวานกลิ่นหอมเฉพาะตัวคล้ายกล้ายหอมผสมกล้วยไข่
ข้อมูลโภชนาการ |
---|
หนึ่งหน่วยบริโภค : 100 กรัม (g) |
คุณค่าทางโภชนาการต่อหนึ่งหน่วยบริโภค พลังงานทั้งหมด 75 kcal |
ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน * |
Protein 0.9 g 1.48% |
Total Fat 0.2 g 0.26% |
Carbohydrate 14 g 5.96% |
Dietary Fiber 6.9 g 27.6% |
Sugars 16 g 24.62% |
|
Calcium 0.63% |
Phosphorus 3.71% |
Magnesium 6.29% |
Potassium 11.38% |
Beta-carotene 5.03% |
Vitamin A 1.71% |
Vitamin C 4% |
|
* ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน หมายถึง สารอาหารที่ได้รับจากการกินครั้งนี้ คิดเป็นสัดส่วนเท่าใดของที่เราควรจะได้รับต่อวัน เช่น ปริมาณคาร์โบไฮเดรตที่ควรได้รับต่อวัน คือ 300 กรัม จากตัวอย่าง คือ ผลไม้ 100 กรัม (g) ให้คาร์โบไฮเดรต 22 กรัม คิดเป็น 7% ของปริมาณที่ควรได้รับ ดังนั้นเราต้องกินเพิ่มอีก 93% จากอาหารอื่น |
ไม่พบภาพเพิ่มเติม
คือ การนำแป้งกล้วยมาผสมกับส่วนผสมต่างๆ ที่มีลักษณะเป็นน้ำแล้วนำไปปิ้งกับแม่พิมให้เป็นแผ่นแล้วม้วนขณะยังร้อน เมื่อเย็นแล้วจะมีลัษณะกรอบใช้รับประทานเป็นของว่าง
อ่านเพิ่มเติมคือ การนำแป้งกล้วยผสมกับกล้วยสุกบดละเอรียด ผสมส่วนผสมอื่นผ่านกรรมวิธีนึ่งจนสุก และตากแห้งสนิท ต้องนำมากทอดก่อนรับประทานเมื่อเย็นแล้วจะมีความกรอบ ใช้รับประทานเป็นกับแกล้มหรือของว่างก็ได้
อ่านเพิ่มเติมคือ การนำกล้วยมาหั่นหรือสไลด์เป็นเส้นบางๆ แล้วนำมาทอด แล้วใส่น้ำตาลลักษณะเหมือนรังนก มีความกรอบ และรวมตัวกันเป็นก่อน
อ่านเพิ่มเติมคือ การนำกล้วยมาผ่านกรรมวิธีการทอดและปรุงรถเพื่อให้ผู้บริโภคได้บริโภคกล้วยได้ในรูปแบบอื่นๆ นอกจากผลสุก
อ่านเพิ่มเติมคือ การนำกล้วยไข่แก่จัดมาผ่านการแปรรูปให้มีรถชาติ และคุณค่าทางอาหารเพิ่มขึ้น ตัวผลิตภัณฑ์จะมีความกรอบ
อ่านเพิ่มเติมคือ การนำกล้วยหอมมาผ่านกรรมวิธีการทอดและปรุงรสต่างๆ เป็นการถนอมอาหารวิธีหนึ่ง ทำให้สามารถเก็บผลิตภัณฑ์ได้นานขึ้น และเพิ่มมูลค่ากล้วยให้มากขึ้น
อ่านเพิ่มเติมคือ การนำกล้วยน้ำห้ามาปรุงรสสมุนไพร เช่น พริกไทย ใบมะกรูด ฯลฯ เพื่อให้ผู้บริโภคได้บริโภคผลิตภัณฑ์จจากกล้วยในรูปแบบที่หลากหลายขึ้น
อ่านเพิ่มเติมเป็นการถนอมอาหารวิธีหนึ่งเพื่อช่วยยืดอายุของกล้วยให้ยาวนานขึ้น ลักษณะม้วนกรอบอาจปรุงรสเพิ่มเติมได้
อ่านเพิ่มเติมเป็นการถนมอาหารวิธีหนึ่งที่ค่อนข้างได้รับความนิยม ซึ่งจะทำให้สามารถเก็บรักษากล้วยให้อยู่ได้นานขึ้น โดยการนำกล้วยสุกงอมมาตากแดดหรือตากให้ตู้อบแสงอาทิตย์ พันธุ์กล้วยที่ใช้ควรเป็นกล้วยน้ำหว้า กล้วยหอม หรือกล้วยเล็บมือนาง
อ่านเพิ่มเติมเป็นการถนมอาหารวิธีหนึ่ง กล้วยที่นำมากวนควรเป็นกล้วยน้ำหว้าสุกงอมมาผสมกับกะทิและน้ำตาล ต้องจ่ายไฟหรือความร้อนให้ทั่วเตา กวนจนเป็นเนื้อเดียวกัน
อ่านเพิ่มเติมแผนภูมิเรดาร์ (Radar chart) หรือ แผนภูมิใยแมงมุม (Spider chart) ใช้แสดงการเปรียบเทียบระดับปริมาณสารอย่างน้อย 1 ชนิด โดยแต่ละมุมจะแสดงสาร 1 ชนิด และสามารถนำมาใช้ในการเปรียบเทียบปริมาณสารชนิดเดียวกันในผลไม้หลายชนิดพร้อมกันได้ คู่มือ
การปรับบรรทัดฐาน (Normalization) ด้วยวิธี Rescaling หรือ Min-Max Normalization เพื่อปรับช่วงข้อมูลให้อยู่ในช่วง [0, 1] ด้วยการนำค่าข้อมูลนั้น ลบด้วยค่าที่น้อยที่สุด (Min) ของมัน แล้วหารด้วยช่วงของข้อมูลนั้น (Max – Min) คู่มือ
Energy by calculation |
Protein total |
Fat total |
Carbohydrate available |
Dietary fibre |
Ash |
Sugars total |
Calcium |
Phosphorus |
Magnesium |
Potassium |
Beta-carotene |
Vitamin A retinol activity equivalent |
Vitamin C |
Chlorogenic acid |
Quercetin |
Naringenin |
Phenolics |
Flavonoids |
- Babu, M. A., Suriyakala, M. A., & Gothandam, K. M. (2012). Varietal impact on phytochemical contents and antioxidant properties of musa acuminata (banana). Journal of Pharmaceutical Sciences and Research, 4(10), 1950-1955. Retrieved from https://www.proquest.com/scholarly-journals/varietal-impact-on-phytochemical-contents/docview/1312443474/se-7 [Link]
- Kunchit Judprasong, Prapasri Puwastien, Nipa Rojroongwasinkul, Anadi Nitithamyong, Piyanut Sridonpai, Amnat Somjai. Institute of Nutrition, Mahidol University (2015). Thai Food Composition Database, Online version 2, September 2018, Thailand. [Link]
- คณะกรรมการและคณะทำงานปรับปรุงข้อกำหนดสารอาหารที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย. (2563). ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย พ.ศ. 2563 (พิมพ์ครั้งที่ 1). สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. [Link]