demo fruit profile ver0.2
ภาพตัวอย่าง
ชื่อท้องถิ่น
กล้วยหอม

ชื่อภาษาอังกฤษ | Banana, Hom variety
ชื่อวิทยาศาสตร์ | Musa sapientum


ฤดูกาลของผลไม้ (ช่วงเดือน) :มกราคม, กุมภาพันธ์, มีนาคม, เมษายน, สิงหาคม, ตุลาคม, ธันวาคม

ข้อมูลลักษณะ

ผล มีลักษณะกลมๆ ทรงรียาวใหญ่ เรียงอยู่ในหวีคล้ายพัด มีผิวลื่นเรียบ ผลอ่อนเปลือกจะมีสีเขียว ผลสุกแก่เปลือกจะมีสีเหลือง ข้างในจะมีเนื้อสีขาวเหลือง มีเนื้อนุ่ม จะมีรสชาติหวานหอม

ข้อมูลโภชนาการ

หนึ่งหน่วยบริโภค : 100 กรัม (g)

คุณค่าทางโภชนาการต่อหนึ่งหน่วยบริโภค

พลังงานทั้งหมด

98 kcal

ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน *

Protein 1.18 g

1.93%

Total Fat 0.11 g

0.14%

Carbohydrate 22.41 g

9.54%

Dietary Fiber 1.5 g

6%

Sugars 19.16 g

29.48%

Calcium

1.75%

Phosphorus

6.57%

Magnesium

6%

Sodium

0.33%

Potassium

10.21%

Iron

4.52%

Copper

6.88%

Zinc

1.09%

Selenium

0.18%

Beta-carotene

2.14%

Vitamin A

0.71%

Vitamin C

27%

* ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน หมายถึง สารอาหารที่ได้รับจากการกินครั้งนี้ คิดเป็นสัดส่วนเท่าใดของที่เราควรจะได้รับต่อวัน เช่น ปริมาณคาร์โบไฮเดรตที่ควรได้รับต่อวัน คือ 300 กรัม จากตัวอย่าง คือ ผลไม้ 100 กรัม (g) ให้คาร์โบไฮเดรต 22 กรัม คิดเป็น 7% ของปริมาณที่ควรได้รับ ดังนั้นเราต้องกินเพิ่มอีก 93% จากอาหารอื่น

ภาพประกอบ

คลิกที่ภาพเพื่อดูภาพขนาดใหญ่

ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง

ทองม้วนกล้วย

คือ การนำแป้งกล้วยมาผสมกับส่วนผสมต่างๆ ที่มีลักษณะเป็นน้ำแล้วนำไปปิ้งกับแม่พิมให้เป็นแผ่นแล้วม้วนขณะยังร้อน เมื่อเย็นแล้วจะมีลัษณะกรอบใช้รับประทานเป็นของว่าง

อ่านเพิ่มเติม
ข้าวเกรียบกล้วย

คือ การนำแป้งกล้วยผสมกับกล้วยสุกบดละเอรียด ผสมส่วนผสมอื่นผ่านกรรมวิธีนึ่งจนสุก และตากแห้งสนิท ต้องนำมากทอดก่อนรับประทานเมื่อเย็นแล้วจะมีความกรอบ ใช้รับประทานเป็นกับแกล้มหรือของว่างก็ได้

อ่านเพิ่มเติม
กล้วยรังนก

คือ การนำกล้วยมาหั่นหรือสไลด์เป็นเส้นบางๆ แล้วนำมาทอด แล้วใส่น้ำตาลลักษณะเหมือนรังนก มีความกรอบ และรวมตัวกันเป็นก่อน

อ่านเพิ่มเติม
กล้วยกรอบแก้ว(กล้วยฉาบทรงเครื่อง)

คือ การนำกล้วยมาผ่านกรรมวิธีการทอดและปรุงรถเพื่อให้ผู้บริโภคได้บริโภคกล้วยได้ในรูปแบบอื่นๆ นอกจากผลสุก

อ่านเพิ่มเติม
กล้วยกรอบงา

คือ การนำกล้วยไข่แก่จัดมาผ่านการแปรรูปให้มีรถชาติ และคุณค่าทางอาหารเพิ่มขึ้น ตัวผลิตภัณฑ์จะมีความกรอบ

อ่านเพิ่มเติม
กล้วยหอมเบรกแตก

คือ การนำกล้วยหอมมาผ่านกรรมวิธีการทอดและปรุงรสต่างๆ เป็นการถนอมอาหารวิธีหนึ่ง ทำให้สามารถเก็บผลิตภัณฑ์ได้นานขึ้น และเพิ่มมูลค่ากล้วยให้มากขึ้น

อ่านเพิ่มเติม
กล้วยม้วนสมุนไพร

คือ การนำกล้วยน้ำห้ามาปรุงรสสมุนไพร เช่น พริกไทย ใบมะกรูด ฯลฯ เพื่อให้ผู้บริโภคได้บริโภคผลิตภัณฑ์จจากกล้วยในรูปแบบที่หลากหลายขึ้น

อ่านเพิ่มเติม
กล้วยหลอดอบเนย

เป็นการถนอมอาหารวิธีหนึ่งเพื่อช่วยยืดอายุของกล้วยให้ยาวนานขึ้น ลักษณะม้วนกรอบอาจปรุงรสเพิ่มเติมได้

อ่านเพิ่มเติม
กล้วยตากหรือกล้วยอบ

เป็นการถนมอาหารวิธีหนึ่งที่ค่อนข้างได้รับความนิยม ซึ่งจะทำให้สามารถเก็บรักษากล้วยให้อยู่ได้นานขึ้น โดยการนำกล้วยสุกงอมมาตากแดดหรือตากให้ตู้อบแสงอาทิตย์ พันธุ์กล้วยที่ใช้ควรเป็นกล้วยน้ำหว้า กล้วยหอม หรือกล้วยเล็บมือนาง

อ่านเพิ่มเติม
กล้วยกวน

เป็นการถนมอาหารวิธีหนึ่ง กล้วยที่นำมากวนควรเป็นกล้วยน้ำหว้าสุกงอมมาผสมกับกะทิและน้ำตาล ต้องจ่ายไฟหรือความร้อนให้ทั่วเตา กวนจนเป็นเนื้อเดียวกัน

อ่านเพิ่มเติม
เบียร์กล้วย

อ่านเพิ่มเติม
โยเกิร์ตกล้วย

อ่านเพิ่มเติม
วุ้นแทนนินกล้วย

อ่านเพิ่มเติม

สารที่พบ


สารอาหารหลัก
Energy by calculation
Protein total
Fat total
Carbohydrate available
Dietary fibre
Ash
Sugars total
สารอาหารรอง
Calcium
Phosphorus
Magnesium
Sodium
Potassium
Iron
Copper
Zinc
Selenium
Beta-carotene
Vitamin A retinol activity equivalent
Vitamin C
สารพฤกษเคมี
Alkaloids
Polyphenols
Flavonoids
Triterpenes
Saponins
Phenols
Phytosterol
Coumarins
Tannins

กราฟเปรียบเทียบปริมาณสารอาหารหลักที่พบ

สารอาหารหลัก (Macronutrients)
เลือกชนิดของสารได้สูงสุดจำนวน 5 ชนิด เพื่อแสดงปริมาณสารที่เลือกบนแผนภูมิเรดาร์

กราฟเปรียบเทียบปริมาณสารอาหารรองที่พบ

สารอาหารรอง (Micronutrients)
เลือกชนิดของสารได้สูงสุดจำนวน 5 ชนิด เพื่อแสดงปริมาณสารที่เลือกบนแผนภูมิเรดาร์

กราฟเปรียบเทียบปริมาณสารออกฤทธิ์ที่พบ

สารพฤกษเคมี (Phytochemicals)
เลือกชนิดของสารได้สูงสุดจำนวน 5 ชนิด เพื่อแสดงปริมาณสารที่เลือกบนแผนภูมิเรดาร์

แหล่งอ้างอิง
- Carine M.N. Ngaffo, Simplice B. Tankeo, Michel-Gael F. Guefack, Paul Nayim , Brice E.N. Wamba, Victor Kuete & Armelle T. Mbaveng. (2021). Phytochemical analysis and antibiotic-modulating activity of Cocos nucifera, Glycine max and Musa sapientum methanol extracts against multidrug resistant Gram-negative bacteria. Investigational Medicinal Chemistry and Pharmacology, 4(2), 53. http://dx.doi.org/10.31183/imcp.2020.00053 [Link]
- Choudhury, D.K., Barman, T., & Rajbongshi, J. (2019). Qualitative phytochemical screening and GC-MS analysis of Musa sapientum Spadix. Journal of Pharmacognosy and Phytochemistry, 8, 2456-2460. [Link]
- Kunchit Judprasong, Prapasri Puwastien, Nipa Rojroongwasinkul, Anadi Nitithamyong, Piyanut Sridonpai, Amnat Somjai. Institute of Nutrition, Mahidol University (2015). Thai Food Composition Database, Online version 2, September 2018, Thailand. [Link]
- คณะกรรมการและคณะทำงานปรับปรุงข้อกำหนดสารอาหารที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย. (2563). ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย พ.ศ. 2563 (พิมพ์ครั้งที่ 1). สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. [Link]